MURSAT Blog


บล็อคส่วนบุคคล ใช้เพื่อประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการระหว่างนักศึกษาปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรแขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก บทความวิจัย บทความวิชาการ หรือผลงานอื่นใดที่อ้างอิงถึงในบล็อคนี้ เป็นไปเพื่อประโยชน์ในด้านวิชาการและการศึกษาเพียงเท่านั้น

Tuesday, August 10, 2010

Electromyographic and Cinematographic Analysis of Movement horn a Kneeling to a standing Position in Healthy 5- to 7-Year-Old Children

ชื่องานวิจัย/บทความ
Electromyographic and Cinematographic Analysis of Movement horn a Kneeling to a standing Position in Healthy 5- to 7-Year-Old Children

แหล่งอ้างอิง
Physical Therapy Vol.71 No.1 Jan 1991

วัตถุประสงค์
-เพื่อศึกษาการทำงานของกล้ามเนื้อขาที่ใช้ในการลุกขึ้นจากพื้นสู่ท่ายืนของเด็กปกติ อายุ 5-7 ปี
-เพื่อศึกษามุมของข้อสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้าที่เปลี่ยนไป

กลุ่มผู้เข้าร่วมงานวิจัย
-เด็กสุขภาพแข็งแรงอายุ 5.2 to 7.9 ปี จำนวนหญิง 6 คน ชาย 4 คน
-น้ำหนัก 15.6 – 25 กิโลกรัม
-สูง 108 – 127 เซ็นติเมตร

ขั้นตอนงานวิจัย
1.ติดอุปกรณ์ electrodes ขนาก 4 มิลลิเมตร ที่ 4 มัดกล้ามเนื้อที่ต้องการศึกษา
2.ดูเครื่อง Vanguard Motion Analyzer
3.และติดLandmark ตรงบริเวณ
1.greater trochanter
2. femur ห่างจาก greater trochanter 5 เซ็นติเมตร
3. มุมในการหมุนข้อเข่า
4. มุมข้อเท้าด้านนอก
5. นิ้วเท้านิ้วที่ 5 ของฝาเท้า
6. มุมระหว่าง ASIS และ PSIS
7. Crest of the ilium
8. กึ่งกลางระหว่าง รักแร้กับ Crest of the ilium
9. ไหล่ข้างเดียวกันกับขาที่จะตรวจ
10. หูด้านหน้า
4.ส่งเสียงเป็นสัญญาณเตือน
1. พร้อมยืนค่ะ คือเด็กตั้งขาขึ้น
2. ลุกยืนค่ะ คือเด็กลุกสู่ท่ายืน
5.นำผลที่ได้มาคำนวณและแปรค่า

ผลการทดลอง





1.จากท่านั่งพื้นสู่ท่ายืนนั้นกล้ามเนื้อที่ทำคือ กล้ามเนื้อ tibialis anterior และกล้ามเนื้อ biceps femoris เป็นกล้ามเนื้อหลักที่ทำงานตลอดช่วงการเคลื่อนไหว ส่วนกล้ามเนื้อ gastrocnemius และ rectus femoris muscles ทำแค่บางช่วงของการเคลื่อนไหว
2.ความสัมพันธ์ในการทำงานของมุม สะโพก เข่า และข้อเท้า ของแต่ละช่วงการเคลื่อนไหว


วิเคราะห์งานวิจัย
1.มีการคัดกรองกลุ่มผู้เข้าร่วมงานวิจัยได้ดี
2.มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้วัดได้อย่างเหมาะสม
3.มีผู้เข้าร่วมงานวิจัยค่อนข้างน้อย

ประโยชน์ที่ได้รับ
1.ได้ความสัมพันธ์ของมุมของข้อสะโพก ข้อเข่า และข้อเท้า ที่เปลี่ยนแปลงไปจากการเคลื่อนไหวต่างๆ
2.ทราบการทำงานของกล้ามเนื้อขาที่ใช้ในการลุกขึ้นจากพื้นสู่ท่ายืนของเด็กปกติ อายุ 5-7 ปี
3.ประยุกต์ใช้ในการทำงานการทำงานของกล้ามเนื้อขา ในลักษณะนั่งพื้นไปยืน
4.สามารถนำมาพัฒนาออกแบบอุปกรณ์ช่วยยืนได้

No comments:

Post a Comment